flower

Tag: ประตูรีโมทอัตโนมัติ

ประตูรีโมทระบบ AC กับ DC แตกต่างกันอย่างไร – เปรียบเทียบประตูรีโมท AC vs DC

การทำงานหลักของมอเตอร์ไฟฟ้า คือการเปลี่ยนจากพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานกล เพื่อให้เป็นไปตามกลไกลของการทำงานของมอเตอร์ไฟฟ้าในลำดับถัดไป ซึ่งระบบไฟฟ้าก็จะมีอยู่สองระบบคือ ระบบ ไฟฟ้ากระแสตรง (direct current: DC) และ ระบบไฟฟ้ากระแสสลับ (alternating current: AC) หรือที่ทุกคนเรียกย่อกันว่า ระบบ AC และ DC นั่นเอง และเมื่อมอเตอร์ไฟฟ้าถูกนำมาใช้งานในรูปแบบของมอเตอร์ประตูรีโมทอัตโนมัติก็จะมีข้อแตกต่างในการทำงานกันอยู่บ้าง ดังนั้นทุกคนควรจะศึกษาความแตกต่างของประตูรีโมทระบบ AC กับ DC ไว้ เพื่อให้มีข้อมูลในการนำมาพิจารณาการเลือกซื้อติดตั้งประตูรีโมทอัตโนมัติด้วย ประตูรีโมทระบบ AC กับ DC แตกต่างกันอย่างไร เปรียบเทียบประตูรีโมทระบบ AC

ใช้ประตูรีโมทดีมั้ย? รวบรวมข้อดี ข้อเสีย ของการใช้ประตูรีโมท

ในปัจจุบันไม่มีใครไม่รู้จักประตูรีโมทอัตโนมัติ แม้แต่ตามโครงการมูลค่าหลักร้อยล้านเองก็มีการนำเอาฟังก์ชันนี้ไปเพิ่มมูลค่าให้แก่บ้าน คงเป็นเพราะสมัยนี้ผู้คนชอบแสวงหาความสะดวกสบายเพื่อเป็นรางวัลให้ตัวเองหลังจากที่ต้องเจอกับงานหนักในแต่ละวัน และประตูรีโมทก็เป็นตัวช่วยเกี่ยวกับที่อยู่อาศัยที่ให้ความสะดวก และเป็นฟังก์ชันที่น่าสนใจเลยทีเดียว “ใช้ประตูรีโมทดีไหม” คำถามที่ได้ยินซ้ำ ๆ ที่ไม่มีวันจางหาย และมักจะเกิดขึ้นกับคนที่สนใจในตัวประตูรีโมทใหม่ ๆ เกือบทุกคน เดี๋ยววันนี้ทางเราจะขอรวบรวม ข้อดี-ข้อเสีย ของการใช้ประตูรีโมทมาให้แก่ทุกคนได้พิจารณากัน ข้อดี-ข้อเสีย ของการใช้ประตูรีโมท ข้อดี 1. สะดวกสะบาย รวดเร็ว และประหยัดเวลา ประตูรีโมทถูกผลิตมาเพื่อให้ความสะดวกสะบาย ตอบโจทย์ของคนยุคใหม่สมัยใหม่อย่างเรา ๆ ไม่เท่านั้นประตูรีโมทยังช่วยให้ความรวดเร็ว และประหยัดเวลาในการใช้ชีวิตประจำวัน แม้ในยามฝนตกหนักคุณกำลังขับรถจะเข้าบ้าน คุณไม่ต้องเสียเวลาหาร่ม หรือต้องเดินลงไปตากฝนเลยสักนิด หรือเมื่อยามมีเพื่อนมาพบปะในวันหยุดสุดสัปดาห์คุณก็สามารถเปิดประตูรีโมทอัตโนมัติอวดความเจ๋งของเทคโนโลยีบ้านของคุณกับเพื่อน ๆ ได้อีก เพียงแค่กดปุ่มสั่งการโดยรีโมท

มอเตอร์ประตูรีโมท เลือกยังไง?

บทความนี้จะมานำเสนอเกี่ยวกับวิธีเลือกมอเตอร์ประตูรีโมทว่ามีปัจจัยอะไรบ้างที่ควรคำนึงถึงก่อนการติดตั้ง แล้วมอเตอร์มันมีทั้งหมดกี่แบบ เพื่อที่จะได้เลือกใช้มอเตอร์ที่เหมาะกับเราและจะได้ไม่ต้องมีปัญหาตามมาในภายหลังครับ ซึ่งผมจะขอแบ่งเป็นปัจจัยต่างๆเพื่อพิจารณาดังนี้ครับ ประเภทของมอเตอร์: AC หรือ DC สิ่งแรกที่คุณจะต้องตัดสินใจคือเลือกว่าจะใช้มอเตอร์ชนิด AC (กระแสสลับ) หรือชนิด DC (กระแสตรง) มอเตอร์ชนิดไฟฟ้ากระแสสลับโดยส่วนมากแล้วจะมีราคาถูกกว่า แต่ก็มาพร้อมกับข้อเสียหลักๆเลยคือมอเตอร์ชนิดนี้จะไม่สามารถใช้งานได้ในขณะที่ไฟดับ ในขณะที่มอเตอร์ชนิดไฟฟ้ากระแสตรงจะมีแบตเตอรี่สำรองที่คอยจ่ายไฟให้เวลาไฟดับและมีระบบชาร์จไฟกลับเวลาที่ไฟติด ซึ่งก็จะมอบประสบการณ์ที่ดีกว่าให้กับเจ้าของบ้าน แต่ก็จะแลกมาด้วยค่าใช้จ่ายที่สูงกว่าครับ ตัวอย่างมอเตอร์กระแสสลับ: https://www.hometouch.co.th/products/bsm-ac-1000/ตัวอย่างมอเตอร์กระแสตรง: https://www.hometouch.co.th/products/e8-dc-600/ น้ำหนักที่มอเตอร์รองรับได้ หลังจากคุณเลือกประเภทของมอเตอร์ได้แล้ว สิ่งถัดมาที่ต้องให้ความสำคัญคือการเลือกน้ำหนักรั้วที่มอเตอร์รองรับได้ ซึ่งก็จะมีตั้งแต่ 600 กก. ไปจนถึงหลายตัน โดยส่วนมากแล้ว หากบ้านที่คุณอยู่อาศัยเป็นบ้านใยนโครงการหมู่บ้านจัดสรรทั่วไป ส่วนมากแล้วรั้วจะทำจากเหล็กโปร่ง ไม่ได้มีน้ำหนักมาก ซึ่งตรงนี้อาจจะแทบไม่ต้องคำนึงถึงน้ำหนักเลยก็ได้ เนื่องจากน้ำหนักประตูจะค่อนข้างเบา แต่ถ้าหากบ้านคุณใช้รั้วสั่งทำที่ทำจากวัสดุที่หลากหลาย

ประตูรีโมท ยี่ห้อไหนดี 2566 – รวม 5 อันดับมอเตอร์ประตูรีโมทขายดี

เลือกประตูรีโมทยี่ห้อไหนดี คำถามที่มักเกิดหลังจากที่ทุกคนได้ตัดสินใจได้แล้วว่าจะเลือกติดตั้งประตูรั้วรีโมทอัตโนมัติ แต่พอค้นหาหรือหาข้อมูลกลับกลายเป็นว่าตอนนี้ มีแบรนด์ตัวเลือกได้เพิ่มขึ้นมาเป็นจำนวนมาก จนทำให้คุณสับสนเลือกตัวสินค้าไม่ได้สักที วันนี้ทางเราจึงได้สรุปสถิติ 5 อันดับ มอเตอร์ประตูรีโมท ที่ขายดีที่สุดในปี 2566 พร้อมบอกข้อมูลคุณสมบัติเบื้องต้นเพื่อให้เป็นข้อมูลในการตัดสินใจ เพราะถ้าหากคุณยังสับสนหรือยังเลือกหาคำตอบไม่ได้ว่าจะเลือก ประตูรีโมทยี่ห้อไหนดี เราเชื่อว่าบทความนี้จะเป็นอีกหนึ่งตัวช่วยในการค้นหาคำตอบให้กับคุณ 5 อันดับ มอเตอร์ประตูรีโมทขายดี 2566 1. มอเตอร์ประตูรีโมท รุ่น BSM AC 1000 KG มอเตอร์รุ่น BSM AC เป็นมอเตอร์รุ่นที่รองรับน้ำหนักประตูรั้วได้ไม่เกิน 1,000 kg. ความเร็วสูงสุดอยู่ที่ 12

หากต้องการสอบถาม หรือนัดประเมินหน้างานฟรี
ติดต่อเราผ่านทาง LineOA / Facebook

Copyright 2024 บริษัท โฮมทัช จำกัด. All Rights Reserved.